วัคซีนต้านเชื้อโควิด-19 มีกี่กลุ่ม และอาจก่อให้เกิดอาการแพ้อะไรได้บ้าง?

27 มิ.ย. 24

วัคซีนต้านเชื้อโควิด

 

จากการเปิดเผยของ ศ.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีศิริราชพยาบาล ได้กล่าวว่า ปัจจุบันมี วัคซีนต้านเชื้อโควิด-19 ที่ผ่านการทดสอบในระยะ 3 จากทั่วโลกอยู่ราว 20 ยี่ห้อ จาก 20 บริษัทผู้ผลิต โดยสามารถจัดกลุ่มตามเทคโนโลยีการผลิตออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ

1. เทคโนโลยี mRNA จากสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นการตัดต่อสารพันธุกรรม เป็นสิ่งใหม่แต่เป็นเทคโนโลยีที่ทำให้ประสิทธิภาพในการป้องกันไวรัสสูงสุดถึง 95% ซึ่งวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ฉีดประจำปี มีประสิทธิภาพประมาณ 50-60% เท่านั้น

เราไม่จำเป็นต้องใช้ประสิทธิภาพถึง 80-90% เพราะ 50-60% ก็เพียงพอ สิ่งสำคัญคือ หากรับวัคซีนต้องทำให้โรคไม่รุนแรง และไม่เสียชีวิต อันนี้คือเป้าหมายใหญ่ ไม่ใช่ไม่ติดเชื้อ

2. วัคซีนจากบริษัทแอสตราเซเนกา หลักการวัคซีนตัวนี้ คือ เอาไวรัสตัวหนึ่งที่ไม่ก่อโรคในคน และเอาพันธุกรรมของโควิด-19 ที่สร้างโปรตีน(สไปรท์โปรตีน) จนเกิดการแพร่ระบาดเยอะ ๆ เข้าไปแตะกับไวรัสตัวนี้และเข้าสู่ร่างกาย

ซึ่งภูมิคุ้มกันตัวเราจะพบว่าไวรัสตัวนี้เป็นสิ่งแปลกปลอม และจดจำว่านี่คือเชื้อโรค เมื่อจำได้ภูมิคุ้มกันในตัวเราก็จะกำจัดไวรัสพวกนี้ ดังนั้น ตัวนี้จึงมีประสิทธิภาพสูงถึง 90% โดยทั้งหมดต้องฉีด 2 ครั้ง แต่วัคซีนตัวนี้ไม่ได้เอาโควิด-19 มาทำ จึงทำให้ราคาไม่แพง

3. วัคซีนจากบริษัท ซิโนแวต เป็นการใช้เทคโนโลยีที่นำเชื้อโควิด และทำให้อ่อนแรงลง จนไม่สามารถทำอันตรายได้ และนำเข้าร่างกายเรา จนภูมิฯ ของเราจดจำเชื้อไวรัสนี้ และเมื่อเชื้อเข้ามาก็จะไปจัดการ ซึ่งเทคโนโลยีนี้ เป็นเทคโนโลยีเดิมแต่มีราคาสูง เพราะต้องไปจัดการเชื้อให้อ่อนแรง ไม่ให้เชื้อแพร่กระจาย ซึ่งได้ผลประมาณ 50% ที่เพียงพอต่อการเกิดภูมิคุ้มกัน เป็นเทคโนโลยีเดียวกับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ซึ่งเป็นเทคนิคการผลิตวัคซีนที่มีความปลอดภัยสูง เพราะรู้จักมานาน

ลักษณะอาการแพ้ที่อาจเกิดขึ้นกับคุณได้ เมื่อได้รับ วัคซีนต้านเชื้อโควิด-19

อาการของผลข้างเคียง อาการแพ้ในระดับไม่รุนแรง และพบได้บ่อยมาก มีลักษณะดังต่อไปนี้

ในทุก ๆ 10 คน ที่ได้รับวัคซีนจะมีอาการในลักษณะนี้ปรากฎให้เห็นอยู่ราว 1 คน ทางการแพทย์ถือว่าเป็นอาการปกติ

อาการของผลข้างเคียง อาการแพ้ในระดับรุนแรง แต่ไม่เป็นอันตรายต่อชีวิต จะมีลักษณะดังต่อไปนี้

  • อาการไส้ติ่งอักเสบ
  • อาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือกเฉียบพลัน
  • อาการผิดปกติของหลอดเลือดในสมอง
  • ต่อมน้ำเหลืองโต

ถือว่าพบได้น้อย ใน 100 คน อาจจะมีพบอาการเหล่านั้น 1 คน

อ่านบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ -> ลักษณะอาการแพ้ที่อาจเกิดขึ้นกับคุณได้ เมื่อได้รับ วัคซีนต้านเชื้อโควิด-19 

#อินโฟกราฟิก #Infographic #อินโฟกราฟิกเพื่อสุขภาพ #อินโฟกราฟิกโควิด


ปรึกษาปัญหาสุขภาพ ไข้หวัด อาการไอ ปวดท้อง ภูมิแพ้  ได้ฟรี! ตลอด 24 ชั่วโมง ถามเลย ที่นี่

ติดตามGedGoodLife ช่องทางอื่น ๆ ได้ที่…

Facebook : GEDGoodLife
Nutroplex : nutroplexclub
Twitter      : @gedgoodlife
Line          : @gedgoodlife
Youtube   : GEDGoodLife ชีวิตดีดี

คีย์เวิร์ดที่เกี่ยวข้อง

บทความที่เกี่ยวข้อง

askexpert

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยจดจำข้อมูลคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ท่านใช้เข้าชมเว็บไซต์ ข้อมูลการลงทะเบียนหรือ log in ข้อมูลการตั้งค่าหรือตัวเลือกที่ท่านเคยเลือกไว้บนเว็บไซต์ เช่น ภาษาที่แสดงบนเว็บไซต์ ที่อยู่สำหรับจัดส่งสินค้า เพื่อให้ท่านสามารถใช้งานเว็บไซต์ได้สะดวกยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องให้ข้อมูลหรือตั้งค่าใหม่ทุกครั้งที่ท่านเข้าใช้เว็บไซต์ ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ ท่านอาจใช้งานเว็บไซต์ได้ไม่สะดวกและไม่เต็มประสิทธิภาพ
    Cookies Details

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์เเละด้านฟังก์ชั่น

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน เพื่อให้เราสามารถวัดผล ประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาเนื้อหาสินค้า/บริการและเว็บไซต์ของเราเพื่อเพิ่มประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ประเมิน และพัฒนาเว็บไซต์ได้
    Cookies Details

  • คุกกี้โฆษณา

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลของท่านและสร้างโปรไฟล์เกี่ยวกับตัวท่าน เพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์และนำเสนอเนื้อหา สินค้า/บริการ และ/หรือ โฆษณาที่เหมาะสมกับความสนใจของท่านได้ ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ ท่านอาจได้รับข้อมูลและโฆษณาทั่วไปที่ไม่ตรงกับความสนใจของท่าน
    Cookies Details

Save