Tagged: ชีวิตประจำวัน
- This topic has 1 reply, 1 voice, and was last updated 1 สัปดาห์ ที่แล้ว by
gedgoodlife.
-
เริ่มต้นตอบกลับ
-
ชมพู่
Guest<p class=”p1″><span class=”s1″>ผลตรวจสุขภาพที่ค่าผิดปกติ วันตรวจ 17/11/67 </span></p>
<p class=”p1″><span class=”s1″>ตรวจเลือด</span></p><ul class=”ul1″>
<li class=”li1″><span class=”s1″>eGFR (CKD-EPI Formula) = 88.4</span>
<li class=”li1″><span class=”s1″>eGFR (MDRD for Thai) = 85.19</span>
<li class=”li1″><span class=”s1″>Cholesterol (คอเลสเตอรอล) = 201</span>
<li class=”li1″><span class=”s1″>Phosphorus (ระดับฟอสฟอรัสในเลือด)=4.9 </span>
<li class=”li1″><span class=”s1″>HGB (ฮีโมโกลบิน) = 12.5</span><p class=”p1″><span class=”s1″>ตรวจปัสสาวะ</span></p>
<ul class=”ul1″>
<li class=”li1″><span class=”s1″>Ketone (สารคีโตน)<span class=”Apple-converted-space”> </span>= Trace</span>
<li class=”li1″><span class=”s1″>Blood (เลือด) = 1+ </span><p class=”p1″><span class=”s1″>รบกวนสอบถามค่ะ ผลตรวจแบบนี้อันตรายต่อร่างกายมั้ยคะ กลัวเป็นโรคไต ทั้งที่ไม่กินเค็ม แบบนี้ควรปฏิบัติตัวยังไงบ้างคะ ควรงดทานอะไรบ้างหรือเน้นทานอะไรบ้าง และควรจะไปตรวจซ้ำภายในกี่เดือน </span></p>
gedgoodlife
Keymasterหากแพทย์ไม่ได้ระบุให้มีการตรวจร่างกายบ่อยว่า 1 ปี ในเบื้องต้นสามารถตรวจร่างกายทุกๆ 1 ปีอย่างสม่ำเสมอ หากมีความกังวลในส่วนการทำงานขอไตแนะนำตรวจเพิ่มเติม เช่น การตรวจระดับไนโตรเจนจากสารยูเรียในเลือด (Blood Urea Nitrogen หรือ BUN),การตรวจระดับครีเอตินินในซีรัม (Serum Creatinine),การตรวจค่าประมาณอัตราการกรองของไต (Estimated Glomerular Filtration Rate หรือ eGFR),การตรวจระดับไมโครอัลบูมิน (Microalbumin) เป็นต้น
-
เริ่มต้นตอบกลับ