gedgoodlife

วิธีดูแล 10 อวัยวะสำคัญของร่างกาย เพื่อสุขภาพที่ยั่งยืน

  ถึงแม้ว่าอวัยวะต่าง ๆ ของเรานั้น ย่อมเสื่อมสลายไปตามกาลเวลา แต่ถ้าหากเราใส่ใจ และรู้จักวิธีดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง อวัยวะต่าง ๆ ก็จะทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และแข็งแรงกว่าคนอื่น ๆ ในวัยเดียวกันได้  Ged Good Life จึงขอแนะนำ วิธียืดอายุ 10 อวัยวะสำคัญของร่างกาย เพื่อสุขภาพที่ยั่งยืน ห่างไกลหมอ แนะนำโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ จะมีอะไรบ้าง มาดูกัน! วิธีดูแล 10 อวัยวะสำคัญของร่างกาย แนะนำโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 1. ผิวหนัง (Skin) หลังอายุ 18 ปี คอลลาเจน และอีลาสตินที่ยืดหยุ่นได้ จะลดลงประมาณ 1% ต่อปี ลองนึกภาพถ้าเราไม่ใส่ใจดูแลผิวของเรา ใบหน้าของเราจะแก่กว่าวัยแค่ไหน วิธีดูแลสุขภาพผิวหนัง 1. ทาครีมกันแดดที่มีประสิทธิภาพ และไม่ทำให้ผิวเราแพ้ 2. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะอาหารที่ช่วยบำรุงผิวพรรณให้สดใส 3. ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ ตัวการทำลายผิวโดยตรง วิธีดูแล 10 อวัยวะสำคัญของร่างกาย เพื่อสุขภาพที่ยั่งยืน

ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ต้องปรับ 5 พฤติกรรมนี้!

  คุณกำลังมีอาการ ท้องอืด อาหารไม่ย่อย อยู่หรีอเปล่า? คงรู้ดีว่ามันทรมานแค่ไหน แต่ถ้าไม่อยากเป็นอีก อาจต้องปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ท้องอืดอีก ตามมาดูกันเลยว่า พฤติกรรมที่ทำให้เกิดอาการท้องอืด อาหารไม่ย่อย จะมีอะไรบ้าง และถ้าหากปล่อยไว้อาจร้ายแรงกว่าที่คิดนะ! อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นท้อง ต้องการความใส่ใจมากกว่าที่คิด ปวดท้องบ่อย ให้ระวัง! โรคกระเพาะอาหาร •สาเหตุ •อาการ •วิธีรักษา 8 ฤทธิ์สำคัญใน “ขมิ้นชัน” รักษาสารพัดโรค และวิธีกินให้ได้ผลดีต่อสุขภาพ รู้ให้ชัด! ท้องอืด อาหารไม่ย่อย คืออะไร มีอาการยังไง และใครคือกลุ่มเสี่ยง? ท้องอืด (Bloated stomach) คือ อาการจุกเสียดบริเวณลิ้นปี่ เนื่องจากมีแก๊สในกระเพาะอาหาร กินอาหารไปแล้ว 3-4 ชั่วโมง ก็ยังรู้สึกว่ามีอาหารค้างอยู่ในท้อง อึดอัดแน่นท้อง เรอ ผายลม หรือท้องโต จนทำให้ท้องดูมีลักษณะบวม (ท้องป่อง) หรือดูอ้วนกว่าปกติ ทั้งนี้หากอาการเป็นต่อเนื่องนาน ๆ โดยไม่มีสาเหตุ ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ต้องปรับ 5 พฤติกรรมนี้!

เคล็ดลับหยุดผมร่วง กู้คืนผมหนาให้กลับมามั่นใจอีกครั้ง!

  “ผมร่วง หัวล้าน” แค่พูดเบา ๆ ก็เจ็บ! หากคุณคือผู้ที่กำลังประสบปัญหาผมร่วงหนัก นอนก็ร่วง สระผมก็ร่วง หรือแค่เอามือจับผม ก็มีผมร่วงติดมือ อาจนิ่งเฉยไม่ได้ ไม่งั้นคงได้หัวล้านเป็นแน่แท้! วันนี้ Ged Good Life จึงขอฝาก “เคล็ดลับหยุดผมร่วง” กู้คืนผมหนาให้กลับมามั่นใจอีกครั้ง! ต้องเริ่มจากอะไรบ้าง… ตามมาดูกัน ผมร่วงแค่ไหน ถึงเรียกว่าผิดปกติ? โดยปกติแล้วเส้นผมบนศีรษะของคนเราจะมีอยู่ประมาณ 90,000-140,000 เส้น และมีอัตราผมร่วงเฉลี่ยต่อวันอยู่ที่ 50-100 เส้น ซึ่งมักเกิดขึ้นระหว่างการสระผม เป่าผม ไปจนถึงการร่วงหล่นระหว่างวัน วิธีง่าย ๆ ในการสังเกต คือให้หวีผม 1 นาทีก่อนสระผม หากผมร่วงออกมาน้อยกว่า 10-20 เส้น ก็จะถือว่ายังอยู่ในเกณฑ์ปกติ วิธีสังเกตว่าผมร่วงมากกว่าปกติ มีดังนี้ – ผมร่วงมากกว่าวันละ 70-100 เส้น ในคนที่สระผมเป็นประจำเกือบทุกวัน หรือผมร่วงมากกว่าวันละ 200 เส้น ในคนที่สระผมห่างกันครั้งละ 3-4 เคล็ดลับหยุดผมร่วง กู้คืนผมหนาให้กลับมามั่นใจอีกครั้ง!

“โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่” TOP3 โรคมะเร็งคนไทยเป็นมากสุด! สาเหตุ อาการ วิธีป้องกัน

  เมื่อพูดถึง มะเร็ง ใคร ๆ ก็คงรู้สึกหวาดกลัว ไม่มีใครอยากเผชิญกับโรคนี้อย่างแน่นอน แต่มีโรคมะเร็งหนึ่งที่คนไทยเราเป็นกันเยอะ และสามารถเป็นกันได้ทุกเพศ ทุกวัย นั่นก็คือ “โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่” ฉะนั้น ไม่ว่าคุณจะอยู่ในวัยไหน ก็ควรตระหนัก และรู้จักโรคนี้ไว้ โดยในวันนี้ Ged Good Life จะพาไปรู้จัก วิธีป้องกันมะเร็งลำไส้ใหญ่ และอาหารที่ควรกินเพื่อเสริมสร้างให้ลำไส้แข็งแรงห่างไกลมะเร็ง จัดอันดับ 5 มะเร็งยอดฮิต ที่คนไทยเป็นมากที่สุด! มะเร็งกระเพาะอาหาร สาเหตุ อาการ วิธีรักษา โรคมะเร็งกับผู้สูงวัย ภัยร้ายที่ต้องใส่ใจ ป้องกันให้เป็น! รู้จักกับ โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ มีสาเหตุจากอะไร? มะเร็งลำไส้ใหญ่ (Colorectal Cancer) – เกิดจากความผิดปกติของเซลล์เยื่อบุลำไส้ใหญ่บริเวณทางเดินอาหารส่วนปลาย ลำไส้ใหญ่ (Colon) และลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย หรือเรียกว่าลำไส้ตรง (Rectum) การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นส่วนลำไส้ใหญ่ช่วงต้น หรือช่วงปลายล้วนเรียกว่า “มะเร็งลำไส้ใหญ่” สาเหตุของการเกิด โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยทางทฤษฎีแล้วในกลุ่มโรคมะเร็งนั้น อาจจะยังไม่สามารถระบุได้แน่ชัดว่าอะไรคือปัจจัย “โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่” TOP3 โรคมะเร็งคนไทยเป็นมากสุด! สาเหตุ อาการ วิธีป้องกัน

“9 วิธีกินของทอด ของมัน” ให้เหมาะสม ไม่อ้วน ไม่ทำร้ายสุขภาพ

  ของทอด ของมัน อาหารโปรดที่ใคร ๆ ก็ชอบ! แต่ช้าก่อน หากเรากินผิด ๆ หรือกินตามใจปากจนเกินไป ก็จะนำปัญหาสุขภาพตามมาด้วย ฉะนั้นวันนี้ Ged Good Life จึงขอแนะนำ “9 วิธีกินของทอด ของมัน” ให้เหมาะสม ไม่อ้วน ไม่ทำร้ายสุขภาพ มาดูกันเลย! ปิ้งย่างไม่อั้น โรครุมเร้าไม่ยั้ง! ภัยร้ายอาหารปิ้งย่าง พร้อมเทคนิคการกินเพื่อสุขภาพที่ดีกว่า อาหารต้องห้าม! งด ละ เลี่ยง เมื่อป่วย 10 โรคฮิตนี้ อาหารไม่ย่อย อืด จุก แน่นท้อง ปัญหาที่ต้องใส่ใจ แก้ไขให้ถูกจุด! 9 วิธีกินของทอด ของมัน ให้เหมาะสม ไม่อ้วน ไม่ทำร้ายสุขภาพ 1. เน้นอาหารทอดที่เป็นเนื้อสัตว์ อาหารทอดที่ทำให้อ้วนได้ง่าย คือของทอดจำพวกแป้งทอดต่าง ๆ เช่น เฟรนฟรายด์ มันฝรั่งทอดกรอบ ขนมปัง “9 วิธีกินของทอด ของมัน” ให้เหมาะสม ไม่อ้วน ไม่ทำร้ายสุขภาพ

เผย! 9 โรคยอดฮิตผู้สูงวัย 60+ รู้เท่าทัน ป้องกันได้

  หากใครที่อยู่ในช่วงวัย 60 ขึ้นไป คงทราบดีว่า การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐที่แท้จริง เพราะยิ่งสูงวัยเท่าไหร่ ยิ่งมีโรครุมเร้าเท่านั้น! ในวันนี้ Ged Good Life จะพาไปทำความรู้จักกับ “9 โรคฮิตผู้สูงวัย 60+” พร้อมวิธีสังเกต และป้องกันโรค… เพราะเราอยากให้ผู้สูงวัย ห่างไกลโรคร้ายกันทุกคน 9 โรคยอดฮิตผู้สูงวัย 60+ : พร้อมแนะสังเกตอาการ และวิธีป้องกัน อันดับ 1 โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus) เบาหวาน เป็นโรคที่พบได้บ่อยที่สุดในผู้สูงอายุ เป็นแล้วไม่หายขาด เกิดจากความผิดปกติของตับอ่อนที่ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้เพียงพอ จึงทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดผิดปกติ ยิ่งอายุมากขึ้นยังอาจทำให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน หรือทำให้ฮอร์โมนอินซูลินออกฤทธิ์ได้น้อยลงเช่นกัน อาการที่สังเกตได้ กระหายน้ำ ปัสสาวะบ่อย อ่อนเพลีย และน้ำหนักตัวลดลงโดยไม่มีสาเหตุ นอกจากนี้ยังอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ตาพร่ามัว ตาบอด ชาปลายมือปลายเท้า ไตเสื่อม เป็นต้น วิธีป้องกันเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด, รับประทานอาหารที่เหมาะสม, หลีกเลี่ยงการรับประทานของหวาน เผย! 9 โรคยอดฮิตผู้สูงวัย 60+ รู้เท่าทัน ป้องกันได้

ไขข้อสงสัย! ง่วงนอนตลอดเวลา “แค่ง่วง” หรือ “ป่วย” กันแน่?!

  เคยสงสัยกันไหม ทำไมเราถึงได้รู้สึกง่วงนอนได้ตลอดเวลา? แค่หัวถึงหมอนก็หลับได้เลยทันที หรือแค่นั่งเก้าอี้ก็รู้สึกง่วงแล้ว อาการแบบนี้มันแค่ง่วง หรือป่วยกันแน่นะ? วันนี้ Ged Good Life จะพาไปไขข้อสงสัยนี้กัน หากใครที่กำลังมีอาการ ง่วงนอนตลอดเวลา ต้องไม่พลาด! 10 วิธี แก้อาการง่วงนอนตอนบ่าย พร้อมแบบทดสอบอาการง่วงนอน โรคใหลตาย ภัยเงียบที่นอนแล้วไม่อาจตื่นมาอีก! เผยสาเหตุ และวิธีป้องกัน พักผ่อนไม่เพียงพอ นอนน้อย นอนไม่ค่อยหลับ เสี่ยงเป็นโรคอะไรบ้าง? ภาวะง่วงนอน เกิดจากอะไร? 1. นาฬิกาชีวิตที่ควบคุมอยู่ภายในร่างกาย ส่งสัญญาณทำให้เกิดภาวะง่วงนอนสองช่วงเวลาในหนึ่งวัน โดยครั้งแรกจะเป็นช่วงค่ำที่จะเข้านอน ส่วนครั้งที่สองจะเกิดซ้ำในอีก 12 ชั่วโมงถัดไป หรือช่วงบ่ายนั่นเอง ช่วงเวลากลางวัน และช่วงเวลากลางคืน ก็มีผลต่อนาฬิกาชีวิตที่ควบคุมอยู่ภายในร่างกายเช่นกัน 2. ปัญหาสุขภาพจิต การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพจิต และอารมณ์ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการง่วงนอนได้ โดยสาเหตุของอาการง่วงนอนส่วนใหญ่มักมาจากอาการเบื่อหน่าย ขณะที่ภาวะซึมเศร้าก็ส่งผลให้เกิดความอ่อนเพลียจนเป็นสาเหตุของอาการง่วงเหงาหาวนอน ง่วงนอนตลอดเวลา อาจสัมพันธ์กับโรคต่าง ๆ ดังนี้ 1. โรคง่วงนอนมากผิดปกติ (Hypersomnia) หรือ โรคนอนเกิน ไขข้อสงสัย! ง่วงนอนตลอดเวลา “แค่ง่วง” หรือ “ป่วย” กันแน่?!

เจ็บคอบ่อย มีสาเหตุจากอะไร? พร้อมแนะวิธีรักษา และป้องกันอย่างตรงจุด!

  เชื่อว่าใคร ๆ ก็คงเคยมีอาการเจ็บคอกันมาบ้างแล้ว แต่ถ้าหากคุณมีอาการเจ็บคอบ่อย ๆ เป็นติดต่อกันนาน เจ็บคอเรื้อรัง คงไม่ใช่เรื่องที่จะปล่อยผ่านได้… วันนี้ Ged Good Life จะพาไปทำความเข้าใจกับอาการเจ็บคอ และสาเหตุที่ทำให้ เจ็บคอบ่อย จะมีอะไรบ้าง มาติดตามกัน! อาการเจ็บคอหลังตื่นนอน เกิดจากสาเหตุใด แก้ไขยังไงดี แล้วแบบไหนควรพบแพทย์? พูดเยอะ เจ็บคอ! คออักเสบ ภาวะติดเชื้อ ที่ควรดูแลให้ดี เสมหะตอนเช้า บ่งบอกโรคอะไร แก้ไขยังไงดี? อาการเจ็บคอ (Sore Throat) เป็นอาการเจ็บป่วยอย่างหนึ่งของร่างกาย ที่สร้างความเจ็บปวด แสบร้อน ระคายเคืองเนื้อเยื่อในลำคอ สร้างความลำบากในการกลืนอาหาร และน้ำ รวมถึงการเปล่งเสียงด้วย อาการเจ็บคอมีอยู่ด้วยกันหลายสาเหตุ แต่ถ้าคุณมีอาการ เจ็บคอบ่อย เจ็บคอทีเป็นอาทิตย์ เป็นไปได้ว่าคุณกำลังใช้ชีวิตที่สุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บคอเรื้อรัง เช่น ทำงานในสถานที่ที่มีฝุ่นเยอะ และมลภาวะเป็นพิษ มีอาชีพที่ต้องใช้เสียงทั้งวัน หรือแม้แต่โรคประจำตัว ก็มีส่วนทำให้คุณเจ็บคอบ่อยได้เช่นกัน “เชื้อไวรัส” และ “เชื้อแบคทีเรีย” 2 เจ็บคอบ่อย มีสาเหตุจากอะไร? พร้อมแนะวิธีรักษา และป้องกันอย่างตรงจุด!

ท้องเสีย ปวดบิดกลางท้อง ให้ระวัง! โรคลำไส้แปรปรวน สาเหตุ อาการ วิธีรักษา

  คุณกำลังมีปัญหาระบบขับถ่ายอยู่หรือเปล่า? ไม่ว่าจะเป็น ท้องเสีย ท้องผูก ปวดท้อง แน่นท้อง และมีอาการแบบนี้มานานหลายเดือน ถึงหลายปี ภาวะแบบนี้อาจบ่งบอกว่า คุณกำลังเผชิญอยู่กับ “โรคลำไส้แปรปรวน” เข้าแล้ว! แต่อย่าตกใจไป เพราะโรคนี้ไม่ได้อันตราย ตามมาดู สาเหตุ อาการ วิธีรักษา กันดีกว่า จะได้เข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้มากขึ้น! ทำความรู้จักกับ โรคลำไส้แปรปรวน โรคลำไส้แปรปรวน หรือ ไอบีเอส (Irritable bowel syndrome – IBS) เป็นโรคที่เกิดจากลำไส้ส่วนปลายทำงานผิดปกติ ได้แก่ ปลายลำไส้ใหญ่ และลำไส้เล็ก มีการบีบตัวมากเกินไป ทำให้เกิดอาการปวดท้อง แน่นท้อง มีอาการท้องเสีย หรือท้องผูก หรือท้องเสียสลับกับท้องผูก เป็นโรคเรื้อรังอาจเป็นปี ๆ หรืออาจเป็นตลอดชีวิต ทั้งนี้โรคลำไส้แปรปรวนไม่ใช่โรคอันตราย หรือทำให้เสียชีวิต โรคลำไส้แปรปรวน มีสาเหตุจากอะไร? สาเหตุของโรคลำไส้แปรปรวนนั้น มีหลายประการด้วยกัน เช่น การบีบตัว หรือการเคลื่อนตัวของลำไส้ผิดปกติ ระบบประสาทที่ผนังลำไส้ไวต่อสิ่งเร้า หรือตัวกระตุ้นมากผิดปกติ ท้องเสีย ปวดบิดกลางท้อง ให้ระวัง! โรคลำไส้แปรปรวน สาเหตุ อาการ วิธีรักษา

หวัดเรื้อรัง ทำไมเป็นนานไม่หายสักที!? สาเหตุ อาการ วิธีรักษา

  หากคุณเป็นคนหนึ่งที่มีอาการป่วยเป็นหวัด เดี๋ยวเป็น เดี๋ยวหาย บ่อยมาก เป็นทีก็เป็นนานหลายวัน พอหายแล้ว ก็เหมือนยังไม่หายสนิท ยังมีทั้งน้ำมูกไหล คัดจมูก จาม ไอเจ็บคอทุกวัน อาจบ่งบอกได้ว่า คุณกำลังเผชิญกับ “หวัดเรื้อรัง” เข้าให้แล้ว! ตามมาดูกันว่าหวัดประเภทนี้จะมี สาเหตุ อาการ วิธีรักษา อย่างไรได้บ้าง โรคไข้หวัด โรคยอดฮิตตลอดปี! เป็นกี่วันหาย กินยาอะไรดี? สาเหตุ อาการ วิธีรักษา โรคไข้หวัด VS โรคภูมิแพ้อากาศ ต่างกันอย่างไร? เป็นหวัด ควรกินยาอะไรดี? แล้วอะไรคือสาเหตุของไข้หวัด? เรื่องควรรู้ก่อนซื้อยา หวัดเรื้อรัง คืออะไร? อาจารย์ น.พ.เจตน์ ลำยองเสถียร ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เล่าว่า… “โดยทั่วไป ไข้หวัดเกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งสามารถหายเองได้ แต่ถ้ามีอาการนานกว่า 5-10 วัน อาจเป็นหวัดเรื้อรัง เนื่องจากมีการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณโพรงจมูก และไซนัสได้ หวัดเรื้อรัง ทำไมเป็นนานไม่หายสักที!? สาเหตุ อาการ วิธีรักษา

ใช่เราหรือเปล่า? 7 อาการเด่นโรคซึมเศร้า และวิธีเรียนรู้เข้าใจโรค

  หากคุณกำลังมีอาการจิตตก หดหู่ เศร้าใจ แต่ไม่แน่ใจว่าตัวเองกำลังเผชิญกับโรคซึมเศร้าอยู่หรือไม่? Ged Good Life ขอแนะนำให้ลองเช็ก  “7 อาการเด่นโรคซึมเศร้า” กันดูว่าตรงกับสิ่งที่เราเป็นหรือไม่ ถ้าใช่… แนะนำให้พบจิตแพทย์ เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องต่อไป จิตตก! เพราะโซเชียล อยู่รึเปล่า? ต้องดู เคล็ดลับใช้โซเชียลอย่างไร ให้ห่างไกลซึมเศร้า 12 อาหารคลายเครียด กินแล้วดีต่อใจ ห่างไกลซึมเศร้า แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9 คำถาม 7 อาการเด่นโรคซึมเศร้า 1. อารมณ์เปลี่ยนแปลงไป ที่พบบ่อยคือจะกลายเป็นคนเศร้าสร้อย หดหู่ สะเทือนใจง่าย ร้องไห้บ่อย เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ดูเหมือนจะอ่อนไหวไปหมด บางคนอาจไม่มีอารมณ์เศร้าชัดเจน แต่จะบอกว่าจิตใจหม่นหมอง ไม่แจ่มใส ไม่สดชื่นเหมือนเดิม บางคนอาจมีความรู้สึกเบื่อหน่ายไปหมดทุกสิ่งทุกอย่าง สิ่งที่เคยทำแล้วเพลินใจ หรือสบายใจ เช่น ฟังเพลง พบปะเพื่อนฝูง เข้าวัด ก็ไม่อยากทำ หรือทำแล้วก็ไม่ทำให้สบายใจขึ้น บ้างก็รู้สึกเบื่อไปหมดตั้งแต่ตื่นเช้ามา ใช่เราหรือเปล่า? 7 อาการเด่นโรคซึมเศร้า และวิธีเรียนรู้เข้าใจโรค

อาหารต้องห้าม! งด ละ เลี่ยง เมื่อป่วย 10 โรคฮิตนี้

  หลายคนคงคุ้นหูกับประโยคที่ว่า ” You are what you eat” นั่นก็เพราะ อาหารที่เรารับประทาน มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต หากกินดี สุขภาพก็ดีตาม แต่หากกินไม่ดี ก็อาจทำให้สุขภาพพังได้! วันนี้ Ged Good Life จึงขอแนะนำ อาหารต้องห้าม ควรลด ละ เลี่ยง เมื่อเป็น 10 โรคฮิตนี้ มาฝาก ใครที่เป็นโรคเหล่านี้อยู่ ก็ควรนำไปปฏิบัติตาม เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้นกว่าเดิมนั่นเอง อาหารต้องห้าม ควรลด ละ เลี่ยง เมื่อเป็น 10 โรคฮิตนี้! 1. โรคโควิด-19 สำหรับผู้ป่วยโควิด-19 รวมถึงผู้ที่เพิ่งหายจากโรคนี้ นอกจากการนอนพักผ่อนให้เพียงพอ ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ เรื่องของอาหารก็ถือว่าเป็นอีกสิ่งที่สำคัญ ที่ต้องใส่ใจ โดยเฉพาะอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ที่กินแล้วอาจทำให้มีอาการไอ ท้องเสีย หรือติดเชื้อ เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ มีดังนี้ อาหารรสจัด อาหารกินเล่น อาหารต้องห้าม! งด ละ เลี่ยง เมื่อป่วย 10 โรคฮิตนี้

เสมหะตอนเช้า สัมพันธ์กับโรคอะไร รักษายังไงดี?

  เป็นกันไหม? แบบว่าตื่นเช้ามาทีไร ต้องมีเสมหะคั่งค้างอยู่ในคอทุกทีเลย แล้วเป็นบ่อย เป็นประจำเกือบทุกวัน ต้องไอเอาเสมหะออกจนเจ็บคอกันเลยทีเดียว! วันนี้ GED good life จะมาไขข้อสงสัยนี้ให้รู้กัน ว่าทำไมเราถึงมี “เสมหะตอนเช้า” อยู่เป็นประจำ เป็นสัญญาณบ่งบอกโรคอะไร แล้วทำยังไงให้หายดี ใครเป็นบ่อย ต้องรู้! ยาแก้ไอละลายเสมหะ คาร์โบซิสเทอีน สรรพคุณ วิธีใช้ให้ถูกต้อง ปลอดภัย ได้ผลจริง! วิธีละลายเสมหะ ช่วยเคลียร์ลำคอให้โล่งขึ้น มีเสมหะในคอตลอดเวลา เสี่ยงเป็นโรคอะไรบ้าง? เสมหะตอนเช้า มาจากไหน? ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า เสมหะ คือเมือกที่ทางเดินหายใจขับออกมาเพื่อจับสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาทางในทางเดินหายใจถือว่าเป็นสิ่งที่ปกติ แต่ถ้าทางเดินหายใจผิดปกติ มีอาการอักเสบ ก็จะทำให้มีเสมหะมากกว่าปกติ หรือมีเสมหะเรื้อรังได้ ฉะนั้น เสมหะตอนเช้าจึงมักมาจากอาการระคายเคือง หรืออักเสบเรื้อรังที่ทางเดินหายใจ จากพฤติกรรม หรือสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจำวันของเรา เช่น การดื่มน้ำน้อย การสูบบุหรี่บ่อย จากโรคประจำตัวที่ทำให้เกิดเสมหะเป็นประจำ การติดเชื้อที่คอ หรือหลอดลมแบบเรื้อรัง ฉะนั้น ผู้ที่ประสบปัญหากับเสมหะตอนเช้าเป็นประจำ ควรหาสาเหตุที่ทำให้เกิดเสมหะ แล้วให้แก้ที่สาเหตุนั้น และอีกคำแนะนำจากแพทย์ คือ เสมหะตอนเช้า สัมพันธ์กับโรคอะไร รักษายังไงดี?

12 วิธีคลายร้อน รับซัมเมอร์สุดHOT !! รู้แล้วต้องแชร์ ให้หายร้อนไปพร้อมกัน

  นับวันโลกยิ่งร้อนขึ้น แต่อย่าให้อารมณ์ร้อนตาม! วันนี้ Ged Good Life จึงขอแนะนำ 12 วิธีคลายร้อน รับซัมเมอร์สุดHOT ที่ได้ผลจริง!! อยากรู้แล้วใช่ไหมล่ะว่าจะมีวิธีอะไรบ้าง มาติดตามกันเลย และอย่าลืมแชร์ต่อ บอกเพื่อน ๆ ให้ลองทำตามกันด้วยนะ อากาศร้อนให้ระวัง! โรคเซ็บเดิร์ม ผื่นหนา ผิวแห้ง คัน : สาเหตุ อาการ วิธีรักษา กรมควบคุมโรคเตือน! 9 อาหารเสี่ยงบูดง่าย ทำท้องเสีย หน้าร้อนนี้! แพทย์เตือน หน้าร้อนต้องระวัง “หวัดแดด” สาเหตุ อาการ วิธีรักษา 12 วิธีคลายร้อน รับซัมเมอร์สุดHOT !! 1. พกร่ม ใส่หมวก เลี่ยงแสงแดด ร่ม และหมวก คือไอเท็มที่ขาดไม่ได้ในหน้าร้อน หากออกไปข้างนอก ก็กางร่ม ใส่หมวกเสียหน่อย นอกจากจะช่วยให้โดนแดดน้อยลง ยังสามารถช่วยป้องกันรังสี UV 12 วิธีคลายร้อน รับซัมเมอร์สุดHOT !! รู้แล้วต้องแชร์ ให้หายร้อนไปพร้อมกัน

กรมควบคุมโรคเตือน! 9 อาหารเสี่ยงบูดง่าย ทำท้องเสีย หน้าร้อนนี้!

  อากาศร้อนเปรี้ยงขนาดนี้ ต้องระวังเรื่องอาหารการกินให้ดี ไม่งั้นอาจท้องเสียได้! เพราะความร้อนระอุ ปรอทแตกนี้แหละ มีส่วนทำให้อาหารบูดง่าย เสียง่าย จึงต้องยึดหลัก “สุก ร้อน สะอาด” เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อทางอาหาร ในวันนี้ Ged Good Life จะมาเตือนถึง 9 อาหารเสี่ยงบูดง่าย ทำท้องเสียได้ในช่วงหน้าร้อนนี้ จะมีอาหารประเภทไหนบ้าง ที่เราต้องเลี่ยง มาติดตามกัน แก้ท้องเสีย จิบ เกลือแร่ ORS เท่านั้น! ห้ามกินเกลือแร่ออกกำลังกาย อยากลำไส้ดี ย่อยง่าย ต้องกินและเลี่ยง 6 เมนูนี้! รู้จัก 5 เชื้อโรค สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่อาจฆ่าเราได้! กรมควบคุมโรคเตือน โรคอุจจาระร่วง สามารถพบได้บ่อยตลอดทั้งปี และพบได้ในประชากรทุกกลุ่มวัย โดยพบมากในผู้สูงอายุ และกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เกิดได้จากหลายสาเหตุทั้งการติดเชื้อ เช่น โปรโตซัว ปรสิต หนอนพยาธิ และอื่น กรมควบคุมโรคเตือน! 9 อาหารเสี่ยงบูดง่าย ทำท้องเสีย หน้าร้อนนี้!

เจ็บแน่นหน้าอกบ่อย หายใจไม่อิ่ม ให้ระวัง 7 โรคร้ายนี้!

  หากคุณมีอาการ เจ็บแน่นหน้าอกบ่อย หายใจไม่อิ่ม เหนื่อยง่าย ให้สงสัยว่ากำลังเผชิญกับโรคที่ค่อนข้างอันตรายต่อชีวิตเข้าแล้ว! มาเช็กไปกับ Ged Good Life กันเลยว่า ถ้ามีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเป็นประจำ จะเสี่ยงเป็นโรคอะไรได้บ้าง และอย่าลืมไปพบแพทย์ เพื่อตรวจรักษาต่อไป 15 คำถามเรื่องกรดไหลย้อน สาเหตุ อาการ วิธีรักษา มีคำตอบที่ GED : Ask Expert “โรคหอบหืด” รู้ทันอาการ เซฟชีวิตคุณได้! โรคหลอดลมอักเสบ มีกี่ชนิด อาการ และวิธีป้องกันโรค เจ็บแน่นหน้าอกบ่อย หายใจไม่อิ่ม ให้ระวัง 7 โรคร้ายนี้! สภาวะของอาการแน่นหน้าอก คือ ความรู้สึกอึดอัด ไม่สบาย มีอาการปวด หรือเจ็บ แสบร้อนกลางอก รู้สึกถึงความดันอัดแน่น บริเวณหน้าท้องส่วนบน และบริเวณคอส่วนล่าง อาการแน่นหน้าอกนี้สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย และอาจเป็นความเสี่ยงที่มาจากโรคร้ายต่าง ๆ ดังนี้ 1. โรคหัวใจขาดเลือด จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข โรคหัวใจเป็นสาเหตุการตายอันดับ เจ็บแน่นหน้าอกบ่อย หายใจไม่อิ่ม ให้ระวัง 7 โรคร้ายนี้!

askexpert

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยจดจำข้อมูลคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ท่านใช้เข้าชมเว็บไซต์ ข้อมูลการลงทะเบียนหรือ log in ข้อมูลการตั้งค่าหรือตัวเลือกที่ท่านเคยเลือกไว้บนเว็บไซต์ เช่น ภาษาที่แสดงบนเว็บไซต์ ที่อยู่สำหรับจัดส่งสินค้า เพื่อให้ท่านสามารถใช้งานเว็บไซต์ได้สะดวกยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องให้ข้อมูลหรือตั้งค่าใหม่ทุกครั้งที่ท่านเข้าใช้เว็บไซต์ ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ ท่านอาจใช้งานเว็บไซต์ได้ไม่สะดวกและไม่เต็มประสิทธิภาพ
    Cookies Details

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์เเละด้านฟังก์ชั่น

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน เพื่อให้เราสามารถวัดผล ประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาเนื้อหาสินค้า/บริการและเว็บไซต์ของเราเพื่อเพิ่มประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ประเมิน และพัฒนาเว็บไซต์ได้
    Cookies Details

  • คุกกี้โฆษณา

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลของท่านและสร้างโปรไฟล์เกี่ยวกับตัวท่าน เพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์และนำเสนอเนื้อหา สินค้า/บริการ และ/หรือ โฆษณาที่เหมาะสมกับความสนใจของท่านได้ ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ ท่านอาจได้รับข้อมูลและโฆษณาทั่วไปที่ไม่ตรงกับความสนใจของท่าน
    Cookies Details

Save