gedgoodlife

กินข้าวแล้วเหนื่อยเป็นประจำ เสี่ยงเป็นโรคอันตรายหรือเปล่า?

  กินข้าวแล้วเหนื่อย ใครไม่เคยเป็นคงรู้สึกแปลก ๆ ว่าแค่กินข้าวจะเหนื่อยได้อย่างไร? แต่ถ้าใครที่เคยมีอาการแบบนี้ หรือประสบพบเจออยู่เป็นประจำ ก็คงรู้ดีว่ามันทรมานขนาดไหน บางคนเหนื่อยถึงขั้นต้องฟุบบนโต๊ะกินข้าวทุกครั้งที่กินข้าวเสร็จเลยทีเดียว! อาการแบบนี้เสี่ยงเป็นโรคอันตรายหรือเปล่า? วันนี้ GED good life จะพาไปค้นหาคำตอบกัน กินข้าวแล้วเหนื่อย อาจเป็นสัญญาณของโรคร้าย! 1. ภูมิแพ้จมูก (Allergic Rhinitis) จมูกตันหายใจลำบาก หายใจไม่ออก ไม่ใช่เพียงแค่ภูมิแพ้จมูก แต่รวมถึงโรคอื่น ๆ ที่ทำให้จมูกบวม เช่น ไซนัสอักเสบ ริดสีดวงจมูก หรือภูมิแพ้ตามฤดูต่าง ๆ เป็นต้น จมูกบวมนั้นเปรียบเหมือนมีคนเอามือมาบีบจมูก ทำให้ไม่สามารถหายใจได้สะดวก หายใจติดขัด ทำให้ระหว่างกินข้าวอาจต้องใช้ปากในการหายใจแทนจมูก จึงทำให้รู้สึกเหนื่อย หอบ ได้ง่ายหลังกินข้าวเสร็จ 2. แพ้อาหาร (Food allergy) หรือมีภาวะแพ้รุนแรง (Anaphylaxis) ภาวะแพ้อาหาร แพ้มาก ๆ มักเกิดแบบเฉียบพลัน เช่น เด็กแพ้ถั่ว กินไปสักพักจะรู้สึกเหนื่อย แน่นอก ส่วนคนที่แพ้อาหารหนัก กินข้าวแล้วเหนื่อยเป็นประจำ เสี่ยงเป็นโรคอันตรายหรือเปล่า?

ยาลดไข้ บรรเทาหวัดสูตรผสม มีสรรพคุณ และวิธีใช้อย่างไร?

  เมื่อมีไข้ เป็นหวัด จาม ร่วมกับอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล ให้นึกถึง “ยาลดไข้ บรรเทาหวัดสูตรผสม” ที่สามารถจัดการได้ทั้งอาการไข้หวัด และภูมิแพ้ในเม็ดเดียว! ยาชนิดนี้จะมีสรรพคุณอย่างไร ทำไมต้องสูตรผสม? มาดูคำตอบกัน… ส่วนใครเป็นหวัดบ่อยต้องมีติดบ้านไว้! ยาพาราเซตามอล กินให้ถูก กินให้ดี ต้องกินอย่างไร? โรคไข้หวัด โรคยอดฮิตตลอดปี มีอาการยังไง เป็นกี่วันหาย กินยาอะไรดี? 9 วิธีป้องกันหวัดและภูมิแพ้ ไร้หวัด คัดจมูก น้ำมูกไหล ฉบับชาวออฟฟิศ ทำความรู้จักกับ ยาลดไข้ บรรเทาหวัดสูตรผสม มีสรรพคุณอย่างไร? ยาลดไข้ บรรเทาหวัดสูตรผสม ที่มีตัวยา “พาราเซตามอล” และ “คลอร์เฟนิรามีน มาลีเอต” เป็นยาแก้ปวด และลดไข้ สำหรับอาการปวดเล็กน้อย ถึงปานกลางเนื่องจากมีประสิทธิภาพ และมีความเสี่ยงต่ำที่จะเกิดผลข้างเคียง จึงมีความปลอดภัยสูง โดยสรรพคุณของยา มีดังนี้ • ยาพาราเซตามอล Paracetamol (PAR) ยาพาราเซตามอล (หรือ ยาลดไข้ บรรเทาหวัดสูตรผสม มีสรรพคุณ และวิธีใช้อย่างไร?

ระบาดหนัก! ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ (H1N1) ควรรับมือยังไงดี?

  นอกจากโรคโควิด-19 ที่ยังต้องเฝ้าระวังแล้ว ก็ได้มีโรคประจำฤดูกาลเข้ามาระบาดซ้ำอีก! นั่นก็คือ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ (H1N1) โดยเฉพาะในสถานศึกษา ตามโรงเรียนต่าง ๆ ที่เมื่อเปิดเทอมแล้ว ก็พบเด็กป่วยโรคนี้กันมากขึ้น และเพื่อความไม่ประมาท มาเรียนรู้ถึงที่มาที่ไปของโรคนี้กัน ว่าจะมีสาเหตุ อาการ วิธีรักษา และป้องกันอย่างไร ไข้หวัด vs ไข้หวัดใหญ่ อาการต่างกันอย่างไร? เช็กอาการ 4 โรคยอดฮิต ! โควิด-19 VS ไข้หวัด VS ไข้หวัดใหญ่ VS ภูมิแพ้ แตกต่างกันอย่างไร? ลูกมีไข้สูง ตัวร้อนในหน้าฝน ควรดูแลอย่างไร? และ 5 โรคเสี่ยงทำลูกไข้สูง ทำความรู้จักกับ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ (H1N1) ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช1 เอ็น1 ชื่อภาษาอังกฤษ “Influenza A (H1N1) หรือ “A(H1N1)pdm09” ระบาดหนัก! ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ (H1N1) ควรรับมือยังไงดี?

ตัวร้อน มีไข้ต่ำเฉพาะตอนเย็น เกิดจากอะไร เป็นโรคอะไรรึเปล่า?

  ไหนใครเป็นบ้าง?… ตกเย็นทีไร รู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดหัว มีไข้ต่ำ ๆ ตรวจ ATK ก็ไม่พบเชื้อโควิด-19 ขึ้นขีดเดียวตลอด อาการแบบนี้เกิดจากอะไร อันตรายหรือเปล่า? GED good life มีคำตอบมาฝากแล้ว ใครที่ตัวร้อน มีไข้ต่ำเฉพาะตอนเย็น อยู่บ่อย ๆ ต้องอ่าน! โรคไข้หวัด โรคยอดฮิตตลอดปี มีอาการยังไง เป็นกี่วันหาย กินยาอะไรดี? ลูกมีไข้ เป็นหวัด น้ำมูกไหล พ่อแม่ควรดูแลลูกยังไง ให้หายดี? โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน สาเหตุ อาการ วิธีรักษา สาเหตุ และโรคที่อาจทำให้ตัวร้อน มีไข้ต่ำเฉพาะตอนเย็น อุณหภูมิที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายวัน หรือติดต่อกันนาน 3 วัน เป็นสัญญาณบ่งชี้ว่า ร่างกายกำลังต่อสู้กับการติดเชื้อ หรือสภาวะสุขภาพอื่น ๆ ซึ่งอาการตัวร้อน มีไข้เฉพาะตอนเย็น อาจเกิดได้จากสาเหตุ และโรคต่าง ๆ เหล่านี้ 1. ความเครียดระหว่างวัน ตัวร้อน มีไข้ต่ำเฉพาะตอนเย็น เกิดจากอะไร เป็นโรคอะไรรึเปล่า?

แพทย์แนะ! วิธีช่วยให้เด็กไอเพื่อระบายเสมหะออก ป้องกันเสมหะลงปอด

  เสมหะลงปอดในเด็กอาจสร้างอันตรายมากกว่าที่คุณคิด! โดยเสมหะเกิดจากร่างกายได้รับสิ่งแปลกปลอม หรือเชื้อโรคต่าง ๆ ที่เข้าไประคายเคืองหลอดลม ถ้าร่างกายสร้างเสมหะเยอะจนเกินไป ก็จะทำให้มีเสมหะจับตัวเป็นก้อน เหนียวข้น มีเสมหะเยอะ อาจทำให้เกิดภาวะเสมหะลงปอด ทำให้เด็กมีไข้ ไอมีเสมหะ ปอดติดเชื้อ และเป็นโรคร้ายต่าง ๆ ตามมาได้ ฉะนั้นผู้ปกครองควรสังเกตอาการไอของเด็ก และควรศึกษา “วิธีช่วยให้เด็กไอเพื่อระบายเสมหะออก” ตามที่แพทย์แนะนำ อาการไอในเด็ก มักเกิดจากสาเหตุใด ไอแบบไหนอันตราย? พร้อมวิธีเลือกซื้อยาแก้ไอเด็ก ยาขับเสมหะ VS ยาละลายเสมหะ เมื่อลูกมีอาการไอ เลือกกินยาแบบไหน? ยาแก้ไอละลายเสมหะ “คาร์โบซิสเทอีน” สรรพคุณ วิธีใช้ให้ถูกต้อง ปลอดภัย เด็กไอแบบไหน ที่ผู้ปกครองจำเป็นต้องช่วย? หากพบว่าเด็กไอมาก ไอจนเหนื่อย ไอจนปวดท้องก็ยังไม่หยุดไอ ไอไม่ค่อยออกเหมือนมีอะไรติดอยู่ที่หลอดลม ผู้ปกครองควรพิจารณาเข้ามาช่วยให้เด็กไอออกมาได้ง่ายขึ้น เพราะอาการเหล่านี้อาจบ่งชี้ได้ว่า มีเสมหะที่เหนียวข้น คั่งค้างในหลอดลมมาก และเสมหะที่คั่งค้างในหลอดลมมากนี่เอง คือสาเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้ เด็กไอเรื้อรัง ฉะนั้นสิ่งที่ผู้ปกครองควรเรียนรู้ในการช่วยให้เด็กไอเอาเสมหะออกมาได้โดยง่าย คือ การเคาะระบายเสมหะ การฝึกให้เด็กไออย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสั่นสะเทือนเพื่อช่วยการไอ มาดูกันว่า วิธีช่วยเด็กเพื่อไอเอาเสมหะออก แพทย์แนะ! วิธีช่วยให้เด็กไอเพื่อระบายเสมหะออก ป้องกันเสมหะลงปอด

ยาที่ควรพกไปเที่ยวเมืองนอก ควรมีอะไรบ้าง? เตรียมให้พร้อม เที่ยวอุ่นใจยุคโควิด-19

  ใครที่มีแพลนจะไปเที่ยวต่างประเทศ ต้องไม่พลาดบทความนี้ เพราะ GED good life มีคำแนะนำดีดีเกี่ยวกับ “ยาที่ควรพกไปเที่ยวเมืองนอก ควรมีอะไรบ้าง?” ในยุคที่โควิดยังคงต้องเฝ้าระวังอยู่ และข้อควรรู้เกี่ยวกับการพกยาไปต่างประเทศ อย่ารอช้า มาเช็กกันเลย! ยาที่ควรพกไปเที่ยวเมืองนอก ควรมีอะไรบ้าง? 1. ยาสำหรับโรคประจำตัว ยาสำหรับโรคประจำตัว เป็นยาที่สำคัญที่สุดที่ห้ามลืมพกไปเด็ดขาด โดยเฉพาะในผู้สูงวัยอาจต้องทบทวนว่า ได้เตรียมยาโรคประจำตัวไว้ในกระเป๋าเดินทางหรือยัง เช่น ยาสำหรับโรคความดัน เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หอบหืด โรคซึมเศร้า โรคกรดไหลย้อน เป็นต้น ควรพกไปให้ครบตามจำนวนวันที่จะไปเที่ยว 2. กลุ่มยาแก้ไข้ แก้ปวด ยาบรรเทาอาการปวด ลดไข้ เป็นยาที่สำคัญ และจำเป็นมาก เนื่องจากการเที่ยวต่างประเทศอาจทำให้สภาพร่างกายของเราปรับอุณหภูมิตามประเทศนั้น ๆ ไม่ทัน รวมไปถึงการต้องเดินเที่ยวเป็นเวลานาน ๆ เสี่ยงต่อการเป็นไข้ ปวดหัว ตัวร้อน และปวดเมื่อยได้ ยาบรรเทาหวัดลดไข้สูตรผสม เหมาะกับผู้เป็นไข้หวัดที่มีอาการแพ้ร่วมด้วย เช่น มีไข้ ปวด น้ำมูกไหล จาม เป็นต้น พาราเซตามอล (Paracetamol) เป็นยาแก้ไข้ รับประทานครั้งละ 1-2 ยาที่ควรพกไปเที่ยวเมืองนอก ควรมีอะไรบ้าง? เตรียมให้พร้อม เที่ยวอุ่นใจยุคโควิด-19

ผมร่วงหลังคลอด รับมือยังไงดี ให้ผมกลับมาสวยเหมือนเดิม?

  ผมร่วงหลังคลอด คือปัญหาที่คุณแม่มือใหม่มักจะตกใจ และกังวลใจไม่น้อยเลยทีเดียว หวีผมทีร่วงหลุดเป็นสายฝน ท่อน้ำในห้องน้ำก็อุดตัน เพราะเส้นผมร่วงหนักไม่ไหว คิดไปไกลถึงขั้นหัวต้องล้านแน่! ยิ่งเห็นก็ยิ่งเครียด จะจัดการอย่างไรดีนะ? แล้วผมจะกลับมาสวยเหมือนเดิมไหมนะ? สารพัดคำถามในใจ สามารถหาคำตอบได้แล้วที่นี่ มาติดตามกันเลย! ทำความเข้าใจกับ ผมร่วงหลังคลอด  คุณแม่มือใหม่หลายคนประสบปัญหาผมร่วงมากเกินไปหลังคลอด (Postpartum Hair Loss) โดยผมมักจะร่วงสูงสุดประมาณสี่เดือนหลังคลอด เมื่อถึงวันเกิดปีแรกของลูก ผู้หญิงส่วนใหญ่จะมีผมยาวตามปกติ หากผมของคุณไม่กลับมาเต็มตามปกติหลังจากผ่านไปหนึ่งปี คุณอาจต้องไปพบแพทย์ผิวหนัง เพราะอาจมีสิ่งอื่นทำให้ผมร่วงได้ ผู้คนสูญเสียเส้นผมด้วยเหตุผลหลายประการ และการวินิจฉัยที่ถูกต้องเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ผมร่วงมีผลต่อเด็กทารกหรือไม่? ผมร่วงหลังคลอดเป็นเรื่องปกติของการตั้งครรภ์ และการคลอดบุตร และจะไม่ส่งผลกระทบต่อลูกน้อยของคุณแม่แน่นอน แต่เส้นผมที่หลุดร่วงสามารถพันรอบนิ้วมือ นิ้วเท้า หรือส่วนอื่น ๆ ของร่างกายทารกได้ (แต่ก็ไม่ใช่เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นได้ง่าย ๆ นัก จึงไม่ต้องกังวลใจไป) ซึ่งอาจทำให้ทารกเกิดอาการปวด และเลือดไม่ค่อยหมุนเวียนได้ หากคุณแม่สังเกตเห็นจะต้องคลายผม หรือตัดผมอย่างระมัดระวัง สาเหตุที่ทำให้ผมร่วงหลังคลอด โดยปกติแล้วเส้นผมคนเราจะร่วงวันละประมาณ 100 เส้น แต่ไม่ได้ร่วงพร้อมกันทีเดียว ทั้งนี้ในช่วงผมร่วงหลังคลอด คุณแม่จะมีภาวะผมร่วงมากกว่า 100 เส้นต่อวัน โดยปกติวงจรชีวิตเส้นผมของคนเรา ผมร่วงหลังคลอด รับมือยังไงดี ให้ผมกลับมาสวยเหมือนเดิม?

โรคกรดไหลย้อน และ โรคหอบหืด สัมพันธ์กันอย่างไร? พร้อมแนะ! วิธีปรับพฤติกรรมบรรเทาโรค

  รู้หรือไม่ว่า มีผู้ป่วยโรคหอบหืดถึง 75% มักป่วยเป็นโรคกรดไหลย้อนร่วมด้วย และผู้ที่เป็นโรคหอบหืดมีโอกาสเป็นโรคกรดไหลย้อนมากกว่าผู้ที่ไม่มีโรคหอบหืดถึง 2 เท่าเลยทีเดียว! สงสัยกันแล้วใช่ไหมล่ะว่า โรคกรดไหลย้อน และ โรคหอบหืด เกี่ยวข้องกันได้ยังไง? วันนี้ GED good life จะพาไปไขคำตอบนี้กัน และข้อควรรู้อื่น ๆ • 8 ต้นเหตุโรคกรดไหลย้อน รู้เท่าทัน ป้องกันได้! • โรคหอบหืด รู้ทันอาการ เซฟชีวิตคุณได้! • 6 อาหารต้องห้าม! เมื่อป่วยเป็นกรดไหลย้อน โรคกรดไหลย้อน และ โรคหอบหืด สัมพันธ์กันอย่างไร? โรคกรดไหลย้อน Gastroesophageal reflux disease (GERD) และ โรคหอบหืด (Asthma) อาจกระตุ้นซึ่งกันและกันได้ เนื่องจากความเชื่อมโยงกันระหว่างหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และทางเดินหายใจ ตลอดจนผลข้างเคียงของยารักษาโรคหอบหืดบางชนิด ผู้ที่เป็นโรคหอบหืดอาจมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกรดไหลย้อนเพิ่มขึ้น และโรคกรดไหลย้อนอาจทำให้โรคหอบหืดแย่ลงได้ โรคกรดไหลย้อน และ โรคหอบหืด มีการเชื่อมโยงกันจากสาเหตุต่อไปนี้ • โรคกรดไหลย้อน และ โรคหอบหืด สัมพันธ์กันอย่างไร? พร้อมแนะ! วิธีปรับพฤติกรรมบรรเทาโรค

โรคไข้ฉี่หนู และ โรคเนื้อเน่า อันตรายจากภัยน้ำท่วม •สาเหตุ •อาการ •วิธีรักษา

  สถานการณ์น้ำท่วมในปัจจุบัน เรียกได้ว่าหนักหนาสาหัสอย่างมาก และเรื่องอันตรายตามมาก็คือ โรคติดต่อที่มักมากับน้ำ โดยวันนี้ GED good life จะพาไปทำความรู้จักกับ “โรคไข้ฉี่หนู และ โรคเนื้อเน่า” ที่พบมากในหน้าฝน และในพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง โดยเฉพาะบุคคลที่ต้องทำงานการเกษตร เช่น ชาวไร่ ชาวนา และผู้ที่ต้องเดินลุยน้ำตลอดทั้งวัน ต้องระวังไว้ให้ดี! • ระวัง! 8 โรคร้ายที่มากับน้ำท่วม • ตัวร้อน มีไข้ ดูแลตัวเองยังไงดี? • 12 โรคสัตว์สู่คน ไม่อยากป่วย ต้องระวังให้ดี! โรคไข้ฉี่หนู  โรคเล็ปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน (zoonosis) เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในปัสสาวะของสัตว์ที่เป็นพาหะ เช่น หนู สุกร สุนัข (แต่พบมากในหนู) เชื้อจะปนเปื้อนอยู่ในบริเวณที่มีน้ำท่วมขัง เข้าสู่ร่างกายผ่านทางผิวหนังที่มีบาดแผลรอยขีดข่วน ผิวหนังเปื่อยเนื่องจากแช่น้ำ หรือผ่านเยื่อบุตา จมูกและปาก มักจะพบการระบาดในเดือนตุลาคม และพฤศจิกายน เนื่องจากเป็นฤดูฝนต่อหนาว มีน้ำขัง โดยปกติแล้วโรคฉี่หนูจะสามารถเป็นแล้วหายเองได้ หากต้องรับประทานยา แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะเป็นระยะเวลา โรคไข้ฉี่หนู และ โรคเนื้อเน่า อันตรายจากภัยน้ำท่วม •สาเหตุ •อาการ •วิธีรักษา

ลูกมีไข้ เป็นหวัด น้ำมูกไหล พ่อแม่ควรดูแลลูกยังไง ให้หายดี?

  ไข้หวัด (Common Cold) เป็นโรคยอดฮิตที่สุดในวัยเด็ก โดยเฉพาะในฤดูฝนต้องระวังเป็นพิเศษ เพราะเชื้อไวรัสที่มากับน้ำฝนมักเป็นเหตุให้ ลูกมีไข้ เป็นหวัด น้ำมูกไหล ได้ง่าย ๆ อาการไข้หวัดในเด็กสามารถเป็นได้ตั้งแต่ มีไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก ปวดเมื่อยตามตัว อาเจียน ท้องเสีย เป็นต้น วันนี้ GED good life จึงขอแนะนำ “วิธีดูแลไข้หวัดในเด็ก” เช่น การเช็ดตัว ให้ยาลดไข้ เป็นต้น  แต่หากพบว่าลูกมีไข้ขึ้นสูงมาก ควรรีบพาไปพบแพทย์ เพื่อรับการรักษาอย่างทันท่วงที! ลูกมีไข้ เป็นหวัด น้ำมูกไหล พ่อแม่ควรดูแลยังไงดี? 1. ใช้ยาลดไข้ และเช็ดตัว ถ้าลูกมีอาการน้ำมูกแน่น คัดจมูกมาก อาจให้ยาแก้หวัดได้ โดยต้องคำนึงถึงน้ำหนักตัวของเด็ก ยาแก้หวัดพวกต้านฤทธิ์ฮีสตามีนกลุ่มที่ทำให้ง่วงนั้น ไม่นิยมให้ในเด็กเล็ก ๆ หรือเด็กที่เป็นหอบหืด เพราะยากลุ่มนี้จะทำให้น้ำมูกแห้ง และจามน้อยลง ส่วนการเช็ดตัว ถ้าเช็ดตัวได้ดี ถูกวิธี ไข้จะลดลงภายใน ลูกมีไข้ เป็นหวัด น้ำมูกไหล พ่อแม่ควรดูแลลูกยังไง ให้หายดี?

“เชื้อราแมว” สามารถติดต่อสู่คน ทำป่วยโรคผิวหนังได้ •สาเหตุ •อาการ •วิธีรักษา

  เชื้อราแมว หรือกลากแมว คือโรคจากสัตว์แสนรักอย่างแมว ที่สามารถติดต่อสู่คนหรือที่นิยมเรียกว่า “ทาสแมว” ได้ ยิ่งในปัจจุบันผู้คนหันมานิยมเลี้ยงแมวกันมากขึ้น บางคนก็เลี้ยงไว้เพื่อแก้เหงา บางคนก็เลี้ยงเพราะเชื่อว่าช่วยรักษาอาการซึมเศร้าได้ แต่ไม่ว่าจะเลี้ยงด้วยสาเหตุอะไร ทาสแมวทั้งหลายก็ควรรู้จักโรคที่มาจากเจ้านาย หรือแมวไว้ด้วย จะได้รู้เท่าทัน ป้องกันได้ โดยเฉพาะในช่วงที่ฝนตก อากาศชื้นแบบนี้ ยิ่งต้องระวังเชื้อราแมวกันให้ดี! ทำความรู้จักกับ “เชื้อราแมว – Ringworm in Cats” เชื้อราแมวมีหลายชนิด แต่ที่พบได้บ่อยคือเชื้อ Microsporum canis อาศัยอยู่ตามผิวหนังของสัตว์ สาเหตุของการเกิดเชื้อราชนิดนี้มาจากความชื้นสะสมส่วนต่าง ๆ ในร่างกายของแมว สามารถสังเกตได้จากผิวหนังของแมวที่มีลักษณะแห้ง แดง และอาจมีอาการลอกของผิวหนัง และขนร่วงเป็นหย่อม ๆ โดยแมวขนยาวจะมีความเสี่ยงในการเกิดเชื้อราได้มากกว่าแมวที่มีขนสั้น (เช่นแมวเปอร์เซีย) เพราะสามารถสะสมความชื้นได้มากกว่า นอกจากแมวแล้วสัตว์อื่น ๆ เช่น สุนัข กระต่าย หนูแฮมสเตอร์และสัตว์ขนยาว ก็สามารถติดเชื้อนี้เช่นกัน จากการทำความสะอาดไม่เพียงพอ เชื้อราแมวสามารถติดต่อสู่คนได้ และต้องใช้เวลานานสักระยะหนึ่งในการรักษา (อาจมากกว่า 6 เดือนก็ได้) แถมโรคนี้ยังสามารถกลับมาเป็นซ้ำ และเพิ่มรอยดำจากแผลเป็นมากขึ้นอีก “เชื้อราแมว” สามารถติดต่อสู่คน ทำป่วยโรคผิวหนังได้ •สาเหตุ •อาการ •วิธีรักษา

อาการไอหลังกินข้าว ทั้งไอเรื้อรัง ไอมีเสมหะ เกิดจากสาเหตุอะไร?

  อาการไอหลังกินข้าว ใครไม่เป็นคงไม่รู้ว่ามันทรมานแค่ไหน เพราะเราต้องกินข้าวทุกวัน วันนึงก็หลายมื้อ ถ้าต้องไอทุกครั้งหลังกินข้าวก็จะอันตรายต่อสุขภาพได้ ฉะนั้นเรามาค้นหาสาเหตุ และวิธีดูแลรักษาอาการไอหลังกินข้าวกันดีกว่า • อาการไอมีกี่แบบ แบบไหนควรรีบไปพบแพทย์ ? • ยาแก้ไอละลายเสมหะ “คาร์โบซิสเทอีน”  สรรพคุณ วิธีใช้ให้ถูกต้อง ปลอดภัย • อาการไอในเด็ก มักเกิดจากสาเหตุใด ไอแบบไหนอันตราย? พร้อมวิธีเลือกซื้อยาแก้ไอเด็ก ลักษณะอาการไอหลังกินข้าว ผู้ป่วยมักจะมีอาการไอเรื้อรัง โดยสัมพันธ์กับมื้ออาหาร โดยเฉพาะกลางวัน หรือตอนเย็น รับประทานอาหารเสร็จทีไร มักจะรู้สึกคันคอ ไอ หรือมีเสมหะร่วมด้วย บางคนไอหลังทานข้าวเสร็จไปประมาณ 2 ชั่วโมง หรือบางคนไม่ทันจะถึง 10 นาที ก็เกิดอาการไอขึ้นมาแล้ว ยิ่งในผู้สูงวัยจะพบอาการไอหลังกินข้าวได้บ่อย เพราะ มักจะมีพฤติกรรมกินข้าวแล้วนอนต่อเลย ฉะนั้นอาการไอหลังกินข้าว มักจะมีลักษณะไอเรื้อรังเนื่องจากมีพฤติกรรมเดิม ๆ ไม่ได้ปรับเปลี่ยนให้ดีขึ้น ไอมีเสมหะ หรืออาจไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะก็ได้ แล้วแต่บุคคลไป อาการไอมีเสมหะหลังกินข้าว มีสาเหตุจากอะไร? นายแพทย์ วินัย โบเวจา หมอโรคปอดและทางเดินหายใจ ได้เผยถึง อาการไอหลังกินข้าว ทั้งไอเรื้อรัง ไอมีเสมหะ เกิดจากสาเหตุอะไร?

รู้เท่าทัน! 9 อาการไข้เลือดออก พร้อมวิธีรักษาและป้องกันโรค

  ไข้เลือดออก (Dengue Fever) โรคที่มักระบาดมากในหน้าฝน เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี โดยมี “ยุงลาย” เป็นพาหะนำโรค จากการดูดเลือดผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี แล้วไปกัดคนอื่น ๆ ต่อ ก็จะทำให้เป็นไข้เลือดออกตามไปด้วย โรคไข้เลือดออกนี้ ถ้าหากรักษาไม่ทันสามารถทำอันตรายได้ถึงชีวิตเลยทีเดียว จึงเป็นโรคที่น่ากลัวไม่น้อย เราทุกคนจึงควรศึกษาถึง อาการไข้เลือดออก ว่ามีอาการอย่างไร จะได้รู้เท่าทันโรคนั่นเอง ตามมาดูกันเลย! – ไข้เลือดออก ภัยร้ายถึงตาย รู้เท่าทันก่อนสาย! – โรคไข้เลือดออก ระบาดหน้าฝน เตรียมลูกให้พร้อม – วิธีเสริมภูมิคุ้มกันในฤดูฝน ให้ห่างไกลหวัด คัดจมูก น้ำมูกไหล เป็นไข้! 9 สัญญาณ อาการไข้เลือดออก 1. มีไข้สูงมากเกิน 38.5 องศาเซลเซียส นาน 2-7 วัน (แต่ถ้าหายไข้ใน 1-2 วัน แสดงว่าเป็นแค่ ไข้หวัดทั่วไป) 2. ปวดศีรษะมาก ปวดรอบ ๆ กระบอกตา รู้สึกอ่อนเพลียนานหลายวัน หรือหลายสัปดาห์ รู้เท่าทัน! 9 อาการไข้เลือดออก พร้อมวิธีรักษาและป้องกันโรค

8 ต้นเหตุโรคกรดไหลย้อน รู้เท่าทัน ป้องกันได้!

  8 ต้นเหตุโรคกรดไหลย้อน รู้เท่าทัน ป้องกันได้! กรดไหลย้อนเป็นหนึ่งในโรคที่ทำให้ผู้คนต้องล้มป่วยมากมาย โดยไม่รู้ด้วยซ้ำว่าอะไรคือต้นเหตุให้ตัวเองเป็นโรคนี้! วันนี้ Ged Good Life จึงจะมาเผยถึง 8 ต้นเหตุโรคกรดไหลย้อน ที่คุณอาจคาดไม่ถึงมาก่อน อย่ารอช้า! มาดูกันเลยว่าจะมีต้นเหตุจากอะไรบ้าง จะได้รู้เท่าทัน ป้องกันได้! เช็กอาการ! กรดไหลย้อน 4 ระยะ มีอาการ และวิธีรักษาอย่างไร? โรคกรดไหลย้อน กับ โรคแพนิค สัมพันธ์กันอย่างไร ปรับชีวิตยังไงดี? ยาลดกรด ยารักษากรดไหลย้อน คืออะไร มีกี่ชนิด ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง? 8 ต้นเหตุโรคกรดไหลย้อน 1. โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 Diabetes Mellitus) โรคเบาหวานมีอยู่ 4 ชนิด ประมาณ 90-95% ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด เป็นเบาหวาน ชนิดที่ 2  ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 8 ต้นเหตุโรคกรดไหลย้อน รู้เท่าทัน ป้องกันได้!

เด็กท้องเสีย มีสาเหตุจากอะไร พ่อแม่รับมือยังไงดี?

  เด็กท้องเสีย มักจะมีอาการถ่ายเหลวเป็นน้ำ หรือถ่ายเป็นฟองหลาย ๆ หน คลื่นไส้ อาเจียน และอาจมีไข้ขึ้น และอาจอันตรายกว่านั้นได้หากดูแลรักษาไม่ถูกวิธี! มาดูกันว่าสาเหตุที่ทำให้เด้กท้องเสียมีอะไรบ้าง และวิธีรักษาอาการท้องเสียอย่างถูกต้อง นำไปปฏบัติตามกันได้เลย! แค่ไหนถึงเรียกว่า “ท้องเสีย”? ท้องเสีย หรือ ท้องร่วง (Diarrhea) ตามความหมายขององค์การอนามัยโลก จะดูที่ลักษณะ และความถี่ของอุจจาระ โดยใช้ลักษณะอุจจาระที่เปลี่ยนแปลงไปจากปกติ เช่น เป็นเนื้อเหลวความถี่ 3 ครั้งขึ้นไป หรือเป็นมูกเลือด 1 ครั้ง หรือเป็นน้ำปริมาณมาก 1 ครั้งขึ้นไป ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง โดยคำจำกัดความนี้ ไม่รวมถึงเด็กเล็กที่ดื่มนมแม่ ซึ่งมักจะถ่ายบ่อย แต่อุจจาระเป็นเนื้อดี และมีน้ำหนักตัวขึ้นได้ตามปกติ อาการท้องเสียเฉียบพลันมักหายได้เองภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์ ถ้านานกว่า 2 สัปดาห์ขึ้นไป ถือเป็นภาวะอุจจาระร่วงยืดเยื้อ หรือเรื้อรัง เด็กท้องเสีย มีสาเหตุจากอะไร? โรคท้องเสียที่พบในเด็ก มีสาเหตุหลักมากกว่า 90% มาจากการติดเชื้อไวรัส เด็กท้องเสีย มีสาเหตุจากอะไร พ่อแม่รับมือยังไงดี?

ผู้สูงวัยไอเรื้อรัง อ่อนเพลียง่าย เสี่ยงเป็นโรคอะไรบ้าง มีวิธีป้องกันอย่างไร?

  อาการไอ เป็นอาการทั่วไปที่ใคร ๆ ก็ย่อมต้องเจอ แต่ในผู้สูงวัยหากมีอาการไอมาก ไอบ่อย ร่วมกับอาการอื่น ๆ ด้วย ไม่ควรปล่อยละเลย ลูกหลาน หรือตัวผู้ป่วยเองควรรีบหาสาเหตุ เพื่อจะได้รักษาได้อย่างตรงจุด มาดูกันว่า ผู้สูงวัยไอเรื้อรัง รู้สึกอ่อนเพลียง่าย สามารถเสี่ยงเป็นโรคอะไรได้บ้าง และจะมีวิธีป้องกันได้อย่างไร? แพทย์เผย! อาการเตือนมะเร็งปอด ภัยร้ายเงียบที่เริ่มจากไอเรื้อรัง ไอเรื้อรัง มีเสมหะตลอดเวลา ระวัง! โรคหลอดลมโป่งพอง อาการไอหลังกินข้าว ทั้งไอเรื้อรัง ไอมีเสมหะ เกิดจากสาเหตุอะไร? ผู้สูงวัยไอเรื้อรัง อ่อนเพลียง่าย เสี่ยงเป็นโรคอะไรบ้าง? 1. โรคหลอดลมอักเสบ (bronchitis) โรคหลอดลมอักเสบ มักพบในผู้ใหญ่ที่อายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป โรคนี้แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ โรคหลอดลมอักเสบชนิดเฉียบพลัน และ โรคหลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรัง ผู้สูงวัยมักจะเสี่ยงเป็นโรคหลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรัง เนื่องจากมีอาการไอเรื้อรัง โดยเฉพาะในรายที่สูบบุหรี่มานาน และเนื่องจากโรคนี้มีอาการใกล้เคียงกับโรคปอดอักเสบ จึงควรพาผู้ป่วยมาพบแพทย์เพื่อฉายรังสีทรวงอก (chest X-ray) อาจช่วยวินิจฉัยแยกโรคปอดอักเสบได้ ผู้สูงวัยไอเรื้อรัง อ่อนเพลียง่าย เสี่ยงเป็นโรคอะไรบ้าง มีวิธีป้องกันอย่างไร?

askexpert

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยจดจำข้อมูลคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ท่านใช้เข้าชมเว็บไซต์ ข้อมูลการลงทะเบียนหรือ log in ข้อมูลการตั้งค่าหรือตัวเลือกที่ท่านเคยเลือกไว้บนเว็บไซต์ เช่น ภาษาที่แสดงบนเว็บไซต์ ที่อยู่สำหรับจัดส่งสินค้า เพื่อให้ท่านสามารถใช้งานเว็บไซต์ได้สะดวกยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องให้ข้อมูลหรือตั้งค่าใหม่ทุกครั้งที่ท่านเข้าใช้เว็บไซต์ ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ ท่านอาจใช้งานเว็บไซต์ได้ไม่สะดวกและไม่เต็มประสิทธิภาพ
    Cookies Details

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์เเละด้านฟังก์ชั่น

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน เพื่อให้เราสามารถวัดผล ประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาเนื้อหาสินค้า/บริการและเว็บไซต์ของเราเพื่อเพิ่มประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ประเมิน และพัฒนาเว็บไซต์ได้
    Cookies Details

  • คุกกี้โฆษณา

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลของท่านและสร้างโปรไฟล์เกี่ยวกับตัวท่าน เพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์และนำเสนอเนื้อหา สินค้า/บริการ และ/หรือ โฆษณาที่เหมาะสมกับความสนใจของท่านได้ ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ ท่านอาจได้รับข้อมูลและโฆษณาทั่วไปที่ไม่ตรงกับความสนใจของท่าน
    Cookies Details

Save